ประวัติคณะผู้วิจัย

นางสาวกษมา ดอกดวง

Mrs. Kasama  Dokduang
หัวหน้านักวิจัย

ตำแหน่งปัจจุบัน พนักงานมหาวิทยาลัย

สถานที่ทำงาน กลุ่มวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี Tel 045 – 352000 ต่อ 1737  E-Mail : kasama.d@ubru.ac.th

ประวัติการศึกษา

     ปริญญาตรี    (วท.บ.) วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2555

     ปริญญาโท     (วท.ม.) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์

                        มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2557

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ

     –  เทคโนโลยีสารสนเทศ

     –  Data Mining

     –  Programming

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

ผลงานวิจัย

กษมา ดอกดวง และปิยะวัฒน์ อัฒจักร. (2564). การพัฒนาแอปพลิเคชันช่วยระบุเส้นทางเดินรถสองแถว จังหวัดอุบลราชธานี. ใน สนั่น ศรีสุข (บ.ก.), การประชุมวิชาการระดับชาติ ECTI-CARD 2021 ครั้งที่ 13 วันที่ 28 – 30 เมษายน 2564. โรงแรมฟอร์จูนริเวอร์วิว จังหวัดนครพนม (น. 47 – 51). นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

กษมา ดอกดวง, ศรุติ อัศวเรืองสุข, และปิยภัทร โกษาพันธุ์. (2563). การเปรียบเทียบเครื่องจักรเรียนรู้เอ็กซ์ตรีมเพื่อช่วยในการทำนายการเสียชีวิตและการเจ็บป่วยของมารดาตั้งครรภ์ที่มีความไม่สมดุลของข้อมูล. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 22(2), 99-106.

ปิยนุช วรบุตร, ภาณุพงศ์ บุญรมย์, ศุภเทพ สติมั่น, กษมา ดอกดวง, และชานนท์ จังกาจิตต์. (2562). การพัฒนาสื่ออินโฟกราฟิกแบบเคลื่อนไหวรายวิชาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 19(2), 134-146.

กษมา ดอกดวง, ชานนท์ จังกาจิตต์, ธิดารัตน์ จันทะหิน, และปิยะวัฒน์ อัฒจักร. (2562). การพัฒนาแอปพลิเคชันเสริมทักษะการคัดลายมือและการเขียนรูปทรงเรขาคณิตสำหรับเด็กปฐมวัยบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เพื่อใช้เป็นสื่อในการส่งเสริมการเรียนการสอน. ใน ภาสกร วรอาจ (บ.ก.), การประชุมวิชาการระดับชาติ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 12 ECTI-CARD 2020 วันที่ 26-27 พฤษภาคม 2563. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (น. 194-199). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

กษมา ดอกดวง และปิยะวิทย์ เอี่ยมพริ้ง. (2560). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม ครั้งที่ 4 (NCITE2018) วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2561. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อุบลราชธานี.

ดร. กิติรัตน์ สีหบัณฑ์

Dr. Kitirat Sihaban
ผู้ร่วมวิจัย

ตำแหน่งปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขารัฐประศาสนสาตร์

สถานที่ทำงาน สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี 

Tel 045 – 352000  E-Mail: kitirat.s@ubru.ac.th

ประวัติการศึกษา

     ปริญญาตรี    เกียรตินิยม อันดับ 2 (ศศ.บ.) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน พ.ศ. 2528

     ปริญญาโท     (ศศ.ม.) ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์

                        มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2532

ปริญญาเอก        (ปร.ด.) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาไทยศึกษา

                        มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2549

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ

     –  ประวัติศาสตร์

     –  ไทยศึกษา

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

–  อนุรักษ์ ประทุมชาติ, จตุรงค์ ศรีวงษ์วรรณะ และ กิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2562). รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยว โดยชุมชนบริเวณลุ่มน้ำโขง จังหวัดอุบลราชธานี. Journal of MCU Peace Studies, 7(5), 1460-1473.

–  พัชรินทร์ ธรรมสาร, จตุรงค์ ศรีวงษ์วรรณะ และ กิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2562). รูปแบบการพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของจังหวัดอุบลราชธานี. Journal of MCU Peace Studies, 7(5), 1391-1406.

–  กิติรัตน์ สีหบัณฑ์ และสุเชาว์ มีหนองหว้า. (2538). ผลกระทบของการเปิดจุดผ่านแดนไทย – ลาวที่มีต่อชุมชนช่องเม็ก (รายงานการวิจัย). สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ประวัติคณะผู้วิจัย

หัวหน้านักวิจัย

  1. ชื่อ – นามสกุล นางสาวกษมา ดอกดวง

                                  Mrs. Kasama  Dokduang

  1. เลขหมายบัตรประจำตัวประชาชน 1349900322610
  2. ตำแหน่งปัจจุบัน พนักงานมหาวิทยาลัย
  3. สถานที่ทำงาน กลุ่มวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี Tel 045 – 352000 ต่อ 1737  

     E-Mail : kasama.d@ubru.ac.th

  1. ประวัติการศึกษา

     ปริญญาตรี    (วท.บ.) วิทยาศาสตรบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2555

     ปริญญาโท     (วท.ม.) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาการคอมพิวเตอร์

                        มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2557

  1. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ

     –  เทคโนโลยีสารสนเทศ

     –  Data Mining

     –  Programming

  1. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ

ผลงานวิจัย

กษมา ดอกดวง และปิยะวัฒน์ อัฒจักร. (2564). การพัฒนาแอปพลิเคชันช่วยระบุเส้นทางเดินรถสองแถว จังหวัดอุบลราชธานี. ใน สนั่น ศรีสุข (บ.ก.), การประชุมวิชาการระดับชาติ ECTI-CARD 2021 ครั้งที่ 13 วันที่ 28 – 30 เมษายน 2564. โรงแรมฟอร์จูนริเวอร์วิว จังหวัดนครพนม (น. 47 – 51). นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

กษมา ดอกดวง, ศรุติ อัศวเรืองสุข, และปิยภัทร โกษาพันธุ์. (2563). การเปรียบเทียบเครื่องจักรเรียนรู้เอ็กซ์ตรีมเพื่อช่วยในการทำนายการเสียชีวิตและการเจ็บป่วยของมารดาตั้งครรภ์ที่มีความไม่สมดุลของข้อมูล. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 22(2), 99-106.

ปิยนุช วรบุตร, ภาณุพงศ์ บุญรมย์, ศุภเทพ สติมั่น, กษมา ดอกดวง, และชานนท์ จังกาจิตต์. (2562). การพัฒนาสื่ออินโฟกราฟิกแบบเคลื่อนไหวรายวิชาระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 19(2), 134-146.

กษมา ดอกดวง, ชานนท์ จังกาจิตต์, ธิดารัตน์ จันทะหิน, และปิยะวัฒน์ อัฒจักร. (2562). การพัฒนาแอปพลิเคชันเสริมทักษะการคัดลายมือและการเขียนรูปทรงเรขาคณิตสำหรับเด็กปฐมวัยบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เพื่อใช้เป็นสื่อในการส่งเสริมการเรียนการสอน. ใน ภาสกร วรอาจ (บ.ก.), การประชุมวิชาการระดับชาติ งานวิจัย และพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 12 ECTI-CARD 2020 วันที่ 26-27 พฤษภาคม 2563. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (น. 194-199). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

 

กษมา ดอกดวง และปิยะวิทย์ เอี่ยมพริ้ง. (2560). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม ครั้งที่ 4 (NCITE2018) วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2561. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อุบลราชธานี.